วันพฤหัสบดีที่ 10 กันยายน พ.ศ. 2552

บทที่2เรื่องการสร้างตาราง
ตอนที่1
1.ข้อใดกล่าวถึงความหมายของตาราง(table)ไดชัดเจนที่สุด
-ค. ออบเจ็กต์ที่อยู่ในฐานข้อมูล
2.ข้อใดต่อไปนี้กล่าวผิด
-ง. Attachmentเป็นชนิดข้อมูลสำหรับสร้างจุงเชื่อมโยง
3.ฟิลด์(Field)หมายถึงอะไร
-ค.คอลัมน์
4.เรคคอร์ด(Record)หมายถึงอะไร
-ก.ตาราง
5.ชนิดข้อมูลแบบข้อความ(Text)สามารถเก็บข้อมูลได้สูงสุดกี่ตัวอักษร
-ค.255
6.ถ้าต้องการกำหนดฟิลด์ในการเก็บข้อความจำนวนมากๆจะต้องเลือกชนิดข้อมูลแบบใด
- ข.Text
7.มุมมองที่ใช้ในการสร้างตารางด้วยการออกแบบเองคือมุมมองแบบใด
-ก.Design View
8.ชนิดความสัมพันธ์ของตารางมีกี่แบบ
-ข.3แบบ
9.ข้อใดต่อไปนี้ไม่สามารถนำมาประกอบในการตั้งฟิลด์ข้อมูลได้
-ง.เครื่องหมายจุด(.)
10.ถ้าต้องการเรียงลำดับข้อมูลในตารางจากน้อยไปหามากจะต้องใช้เครื่องมือใด
-ก.Ascending

ตอนที่2
1. ฌ Field= ข้อมูลในแนวคอลัมน์
2. ง Record=ข้อมูลในแนวแถว
3. จ Memo= เก็บข้อมูลประเภทข้อความที่มีความยาวมากๆ
4. ข OLE Object=เก็บข้อมูลประเภทรูปภาพ
5. ซ Currency=เก็บข้อมูลที่เป็นตัวเลขทางการเงิน
6. ญ Attachment=เก็บเอกสารและแฟ้มไบนารี่ทุกชนิดในฐานข้อมูล
7. ก Input Mask=กำหนดรูปแบบในการป้อนข้อมูล
8. ฉ Format=กำหนดรูปแบบการแสดงข้อมูล
9. ช Descending=เรียงลำดับจากมากไปน้อย
10. ค Ascending=เรียงลำดับข้อมูลจากน้อยไปมาก

ตอนที่3
1.จงอธิบายถึงประโยชน์ที่ได้รับจากการสร้างตาราง
-
2.จงบอกถึงคุณสมบัติในการเลือกฟิลด์ข้อมูลที่นำมาเป็นคีย์หลัก(Primary Key)
- ฟิลด์ที่มีข้อมูลในเรคอร์ดไม่ซ้ำกัน
3.อธิบายถึงความแตกต่างในการสร้างตารางด้วยมุมมองการออกแบบ(Table Design) และมุมมองแผ่นตารางข้อมูล(DataSheet View)
-Table Design เป็นมุมมองที่ใช้ในการกำหนดข้อมูลของตาราง ชนิดข้อมูล คุณสมบัติของฟิลด์แต่ละฟิลด์
Datasheet Viewเป็นมุมมองที่ใช้ในการป้อนข้อมูลที่ต้องการเก็บลงในตาราง
4.จงบอกขั้นตอนในการสร้างตารางด้วยมุมมองการออกแบบมีขั้นตอนอย่างไร
- 1.คลิกที่แท็บ Create
2.เลือกปุ่มคำสั่ง (Table Design)ในกลุ่มของTableจากนั้นAccessจะเปิดตารางข้อมูลเปล่าในมุมมองการออกแบบขั้นมา
3.กำหนดฟิลด์ข้อมูล แล้วกดปุ่ม Tab เพื่อเลือกช่องถัดไป
4.เลือกชนิดข้อมูล
5.กำหนดคำอธิบายฟิลด์
6.กำหนดคุณสมบัติฟิลด์เพิ่มเติม
7.คลิกปุ่ม Save จาก Quick Access Toolbar
8.กำหนดชื่อตาราง
9.คลิกปุ่ม OK
10.จะปรากฏไดอะล็อกบ็อกซ์ให้กำหนดคีย์หลัก
บทที่ 1 เรื่องความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับโปรแกรม Aeccss 2007
แบบฝึกหัด บทที่ 1
ตอนที่ 1
1.ระบบจัดการฐานข้อมูล (DBMS) คืออะไร- ข.ตัวกลางระหว่างผู้ใช้กับฐานข้อมูล
2.หลังจากที่สร้างฐานข้อมูลแล้ว จะต้องสร้างออบเจ็กอะไรเป็นอันดับแรก- ก.Table
3.ออบเจ็กต์ใดทำหน้าที่ในการเก็บข้อมูลทั้งหมดลงฐานข้อมูล- ก.Table
4.ออบเจ็กต์ Query มีหน้าที่อะไร-ค.สร้างเเบบสอบถาม
5.ข้อใดต่อไปนี้เป็นหน้าที่ของออบเจ็ก form- ข.เก็บข้อมูลลงฐานข้อมูล
6.ข้อใดต่อไปนี้ ไม่ใช่ กฎของการ normalizatioh-ข.จะต้องมีความสัมพันธ์เเบบเชิงกลุ่ม(Many-to-Many)
7.ข้อใด ไม่ใช่ ประโยชน์ที่ได้รับของระบบฐานข้อมูล- ค.ข้อมูลที่จัดเก็บมีความทันสมัย
8.ขั้นตอนใดต่อไปนี้เป็นขั้นตอนแรกในการออกแบบฐานข้อมูล- ก.กำหนดวัตถุประสงค์ในการใช้งาน
9.ส่วนประกอบต่อไปนี้เพิ่มเข้ามาใหม่ใน Access 2007 ยกเว้นข้อใด- ง.Ribbon
10.ข้อใดต่อไปนี้ กล่าวผิด- ก.เมื่อบันทึกฐานข้อมูลในAccess2007จะมีนามสกุลเป็น .accdb
ตอนที่ 2
1. ช DBMS=ระบบจัดการฐานข้อมูล
2. จ Normalization=กฏที่ใช้ในการออกแบบตาราง
3. ซ Office Button=ปุ่มที่รวบรวมชุดคำสั่งในการจัดการฐานข้อมูล
4. ญ Quick Access Toolbar=แถบเครื่องมือที่รวบรวมปุ่มเครื่องมือที่ใช้งานบ่อยๆเอาไว้
5. ฌ Ribbon=ส่วนในการทำงานใหม่ที่เข้ามาแทนที่แถบเมนูและแถบเครื่องมือ
6. ก Navigation Pane=แถบในการแสดงออบเจ็กต์ที่สร้างขึ้น
7. ค Document Window=ส่วนของพื้นที่ในการทำงานของออบเจ็กต์ต่างๆ
8. ข Query=แบบสอบถามข้อมูล
9. ง Mecro=ชุดคำสั่งกระทำต่างๆที่นำมารวมกัน
10.ฉ Module=โปรแกรมย่อยที่เขียนขึ้นด้วยภาษา VBA
ตอนที่3
1.จงอธิบายถึงความหมายของฐานข้อมูล-ฐานข้อมูล(Database)คือข้อมูลจำนวนมากที่มีการจัดเก็บไว้อย่างเป็นระเบียบในลักษณะของตาราง ข้อมูลแต่ละตารางที่มีอยู่นั้นมีความสัมพันธ์กัน
2.ระบบฐานข้อมูลมีประโยชน์อย่างไร-1.ลดความซับซ้อนของข้อมูล 2.ทำให้เกิดความสอดคล้องของข้อมูล
3.ควบคุมความถูกต้องของข้อมูล 4.สามารถใช้ข้อมูลร่วมกันได้
5.มีความปลอดภัย
3.ใน Microsoft Access 2007 ประกอบไปด้วยออบเจ็กต์อะไรบ้าง และมีหน้าที่อย่างไร-1.Table ใช้ในการเก็บข้อมูลทั้งหมด 2.Queries ช่วยค้นหาหรือสร้างแบบสอบถามข้อมูล 3.Froms แบบฟอร์มในการทำงาน สำหรับจัดการกับข้อมูลแทนการจัดการในตาราง 4.Report ใช้ในการสร้างรายงาน 5.Macros ชุดคำสั่งที่นำมาร่วมกันตามขั้นตอนในการทำงานเพื่อให้การทำงานเป็นอัติโนมัติ 6.Modules ช่วยให้ทำงานกับข้อมุลที่ซับซ้อนมากขึ้นได้
4.จงอธิบายหลักการออกแบบฐานข้อมูลมาพอเข้าใจ-ต้องกำหนดวัตถุประสงค์ว่าต้องใช้ข้อมูลเรื่องใด ใช้เพื่อทำอะไร ต้องการอะไร สอบถามความต้องการจากผู้ใช้ วิเคราะห์ข้อมูลที่จำเป็นจัดเป็นกลุ่ม วิเคราะห์ข้อมูลแต่ละตาราง วิเคราะห์โครงสร้างข้อมูล กำหนดชนิดข้อมูล กำหนดความสัมพันธ์
5.จงยกตัวอย่างระบบงานที่ควรนำระบบฐานข้อมูลมาใช้พร้อมทั้งอธิบายเหตุผล-งานทะเบียน เพราะว่าเป็นงานที่ทำเกี่ยวกับประวัติของพนักงานหรือนักเรียนทั้งหมด ซึ่งมีข้อมูลต่างๆหลายอย่าง

วันพุธที่ 15 กรกฎาคม พ.ศ. 2552

แบบฝึกหัดบทที่ 4

แบบฝึกหัดบทที่4
ตอนที่1 1.โปรแกรมสำเร็จรูป คือ ซอฟแวร์ประยุกต์ที่ถูกพัฒนาขึ้นเพื่อใช้ในการทำงานอย่างใดอย่างหนึ่ง
2.บทบาทของโปรแกรมสำเร็จรูป คือ 1. เป็นเครื่องมือที่ช่วยเพิ่มประสิทธิผลของพนักงาน 2. เป็นองค์ประกอบสำคัญในสำนักงานอัตโนมัติ 3. ด้านการศึกษาและการให้ความบันเทิง
3.ประเภทของโปรแกรมสำเร็จรูปมี 4 ประเภทคือ 1. โปรแกรมเพิ่มประสิทธิภาพผลของงานส่วนบุคคล 2. โปรแกรมสำเร็จทางธุรกิจ 3.โปรแกรมสำเร็จทางการศึกษา 4. โปรแกรมคอมพิวเตอร์เกม
4.โปรแกรมสำเร็จรูปเพื่องานเอกสารและการพิมพ์แบ่งได้ 2 กลุ่ม คือ 1. โปแกรมชุดประมวลผลคำ 2. โปรแกมชุดการพิมพ์แบบตั้งโต๊ะ
5.โปรแกรมชุดประมวลคำ เป็นซอฟแวร์ประยุกต์เพื่องานทั่วไปทีมีวัตถุประสงค์หลักของการออกแบบโปแกรม
6.โปรแกรมสำเร็จเพื่อบริหารฐานข้อมูล มีความสามารถดังต่อไปนี้ 1. จัดสร้างฐานข้อมูลใหม่ได้ 2. ซักถามข้อมูลจากฐานข้อมูลได้ 3. บำรุงรักษาฐานข้อมูล 4. พัฒนาระบบโปรแกรมเพื่อการใช้งานฐานข้อมูลที่สร้างขึ้นได้ 5. กำหนดมาตรฐานการความปลอดภัยในการใช้ฐานข้อมูลได้
7.คุณสมบัติของโปรแกรมสำเร็จเพื่อจัดทำตารางการประกอบด้วย
1.รับป้อนข้อมูล ( ทั้งที่เป็นตัวเลขและตัวอักษร ) และความสัมพันธ์ ( สูตรหรือฟังก์ชัน ) ในรูปแบบต่างๆ เข้าไปในช่องของตารางซึ่ง เรียกว่า เซลล์
2.อนุญาตให้ผู้ใช้ปรับปรุง เปลี่ยนแปลง และแก้ไขข้อมูลที่ได้ป้อนไว้แล้วได้
3.สามารถป้องกันและยกเลิกการป้องกันการแก้ไขข้อมูลทีเก็ยไว้บนตารางทำการ ทังในลักษณะที่เป็น บางส่วนหรือทั้งตารางได้
4.สามารถสร้างกราฟในลักษณะต่างๆ จากข้อมูลที่อยู่บนตารางทำการได้
5.สามารถจัดเก็บตารางทำการไว้ใหม่ได้
6.สามารถจัดพิมพ์ข้อมูลในตารางทำการได้หลายรูปแบบ เช่น การพิมพ์ออกมาเป็นความสัมพันธ์หรือสูตร หรือพิมพ์ผลลัพธ์ที่ได้จากการคำนวณได้
8.ตัวอย่างของโปรแกรมชุดประมวลผลคำ ได้แก่ 1. ไมโครซอฟต์เวิร์ด 2. เอมิโปร 3. เวิร์ดเพอร์เฟค
9.ตัวอย่างของโปรแกรมสำเร็จเพื่อการบริหารฐานข้อมูล ได้แก่ 1. ดีเบส 2. ฟอกซ์โปร 3. ไมโครซอฟต์แอคแซส
10.โปรแกรมสำเร็จเพื่อสร้างงานนำเสนอ เป็นโปรแกรมสำเร็จเพื่อสร้างเอกสารนำเสนอที่มีรูปแบบสวยงามใช้งานง่าย
ตอนที่2
1. ค
2.ง
3.ง
4.ก
5.ง
6.ก
7.ง
8.ค
9.ค
10.ก

แบบฝึกหัดบทที่ 3

แบบฝึกหัดบทที่ 3
ตอนที่1
1. Hardware มีองค์ประกอบอยู่ 5 อย่าง คือ 1. หน่วยรับข้อมูล 2. หน่วยประมวลผลกลาง 3. หน่วยแสดงผลลัพธ์ 4. หน่วยความจำ 5. หน่วยความจำสำรอง
2. อุปกรณ์รับข้อมูลมี 1.แป้นพิมพ์หรือคีบอร์ด 2. เมาส์ 3. scanner 4. opical character reader 5. เครื่องอ่านบาร์โคด 6.เครื่องอ่านคะแนนด้วยแสง
3. หน่วยประมวลผลกลางมีส่วนประกอบสำคัญ คือ 1. หน่วยควบคุม 2. หน่วยคำนวณและตรรกะ
4. หน่วยควบคุม ทำหน้าที่ควบคุมการทำงานของทุกหน่วยใน หน่วยประมวลผลกลาง
5. หน่วยความจำ หมายถึง หน่วยความจำหลักของเครื่องคอมพิวเตอร์ทำหน้าที่ในการบันทึกข้อมูลและคำสั่งต่างๆ
6. หน่วยความจำถาวร เป็นหน่วยความจำที่สามารถอ่านข้อมูลได้อย่างเดียว
7. ซอฟแวร์มี 2 ชนิด คือ 1. ซอฟแวร์ระบบ 2. ซอฟแวร์ประยุกต์
8. ซอฟแวร์ประยุกต์มี 2 ประเภท ได้แก่ 1. ซอฟแวร์สำเร็จ 2. วอฟแวร์ใช้งานโดยเฉพาะ
9. จงบอกประเภทบุคลากรทางคอมพิวเตอร์มา 5 ประเภท คือ 1.ผู้อำนวยการ 2. นักวิเคราะห์ระบบ 3.โปรแกรมเมอร์ 4. โปรแกรมเมอร์ระบบ 5. ผู้บริหารระบบเครือข่าย
10. ประโยชน์ของการจัดการงานคอมพิวเตอร์ คือ 1. ช่วยให้สามารถประเมิน ศึกษา วิเคราะห์ ตรวจสอบ คาดคะเนเหตุการณ์ต่างๆได้ 2. ช่วยให้สามารถพัฒนาระบบงานให้สอดคล้องกับความต้องการ 3. ช่วยประสานการทำงานของฝ่ายต่างๆ ในองค์กรธุรกิจให้สามารถดำเนินไปอย่างรวดเร็ว
ตอนที่2
1. ก
2. ค
3. ข
4. ง
5. ข
6. ค
7. ข
8. ง
9. ข
10. ข

วันศุกร์ที่ 5 มิถุนายน พ.ศ. 2552

แบบฝึกหัดบทที่ 2
ตอนที่ 1 จงเติมคำหรือเติมข้อความลงในช่องว่างให้สมบูรณ์
1. การทำงานของคอมพิวเตอร์มีขั้นตอนสำคัญ 4 ขั้นตอน คือ 1.การรับข้อมูลและคำสั่ง 2.การประมวลผลและคิดคำนึง 3.การเก็บข้อมูล 4.นำเสนอผลลัพธ์
2. หน่วยประมวลผลกลาง ทำหน้าที่เหมือน มันสมองของคอมพิวเตอร์
3. เมนบอร์ดทำหน้าที่อะไร เป็นแผนวงจรไฟฟ้าขนาดใหญ่ที่ไว้ประกอบชิ้นส่วนสำคัญ
4. จงบอกชื่ออุปกรณ์ที่อยู่ภายในเครื่องคอมพิวเตอร์ CPU RAM MAINBOARD
HARDDISKDRIVE ช่องขยาย
5. ความละเอียดในการแสดงผลของจอภาพวัดเป็น Pixel
6. อุปกรณ์ที่ทำหน้าที่เก็บข้อมูลและโปรแกรมต่าง ๆ คือ ฮาร์ดดิสก์ ซีดีรอม
7. ส่วนที่ทำหน้าที่คำนวณ ประมวลผลคำสั่ง และควบคุมการทำงาน เรียกว่า CPU
8. หน่วยความจำที่ใช้ในการบันทึกข้อมูลแบบชั่วคราว เรียกว่า แรม
9. อุปกรณ์ภายในเครื่องคอมพิวเตอร์ที่สำคัญที่สุด คือ เมนบอร์ด
10. จงบอกอุปกรณ์ต่อพ่วง เครื่องพิมพ์ชนิดต่างๆ เครื่องสแกนภาพโมเด็ม
ตอนที่ 2
1. ค. แสดงผลข้อมูล
2. ก. พิกเซล
3. ก. ไว้ใส่อุปกรณ์ฮาร์ดแวร์ที่เป็นส่วนสำคัญ เช่น ฮาร์ดดิสก์ เมนบอร์ด การ์ดเสียง แรม
4. ก. รับข้อมูล
5. ง. ผิดเฉพาะข้อ ก.
6. ข. ซีพียู
7. ก. เมนบอร์ด
8. ก. เพราะแผงวงจรไฟฟ้าขนาดใหญ่ที่ไว้ประกอบชิ้นส่วนสำคัญของคอมพิวเตอร์ เพื่อให้สามารถใช้งานได้
9. ง. ถูกทุกข้อ
10. ง. เครื่องพิมพ์แบบเลเซอร์

วันพฤหัสบดีที่ 4 มิถุนายน พ.ศ. 2552

บทที่ 1 การใช้คอมพิวเตอร์ในงานอาชีพเบื้องต้น
ความหมายและขอบเขตงานคอมพิวเตอร์
คอมพิวเตอร์คืออะไร
คอมพิวเตอร์ คือ เครื่องมือทางอิเล็กทรอนิกส์อย่างหนึ่งที่สามารถรับข้อมูล พร้อมคำสั่งในรูปแบบที่เครื่องสามารถจะเข้าใจได้
ความก้าวหน้าของงานคอมพิวเตอร์
เครื่องคอมพิวเตอร์ในปัจจุบันนอกจากจะมีขนาดเล็กลงแล้ว ยังมีสมรรถนะในการทำงานสูงกว่าเดิมมาก สามารถบรรจุเนื้อที่ในข้อมูลได้มาก ทำงานได้อย่างรวดเร็ว
หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์ มีการทำงานอยู่ 3 ขั้นตอน
1. การรับข้อมูล
2. การประมวลผล
3. การแสดงผล
ลักษณะและประเภทของงานคอมพิวเตอร์
ประเภทของงานคอมพิวเตอร์ แบ่งออกตามวิธีการประมวลผล สามารถแบ่งได้เป็น 3 ชนิดคือ
1. เครื่องคอมพิวเตอร์แบบอนาล็อก เป็นเครื่องคอมพิวเตอร์ที่ใช้ทำงานโดยหลักการวัด
2. เครื่องคอมพิวเตอร์แบบดิจิตอล เป็นเครื่องคอมพิวเตอร์ที่ใช้ทำงานโดยหลักการนับจำนวน
โดยตรง เช่น 10 , 20 , 30 ... 100
3. เครื่องคอมพิวเตอร์แบบไฮบริด เป็นเครื่องคอมพิวเตอร์ที่รวมทั้งเครื่องคอมพิวเตอร์แบบ
อนาล็อก และดิจิตอลไว้ด้วยกัน
ความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
การพัฒนาของเครื่องคอมพิวเตอร์ มีวิวัฒนาการมาจากการคำนวณของมนุษย์ เริ่มแรกได้ทำการคำนวณโดยการนับจากนิ้วมือ เมื่อจำนวนตัวเลขเพิ่มมากขึ้นก็เริ่มนำเอา ลูกปัด เปลือกหอย มาช่วยในการนับแทนนิ้วมือ
การพัฒนาของเครื่องคอมพิวเตอร์นั้นมีการพัฒนาไม่หยุดยั้งจากปี ค.ศ. 1951-1964 ซึ่งแบ่งทั้งหมดเป็น 5 ยุค ดังนี้
ยุคที่ 1 (ค.ศ. 1951-1958)
ยุคที่ 2 (ค.ศ. 1959-1964)
ยุคที่ 3 (ค.ศ. 1965-1971)
ยุคที่ 4 (ค.ศ. 1972-1980)
ยุคที่ 5 (ค.ศ. 1980- ปัจจุบัน)
ลักษณะและประเภทของคอมพิวเตอร์นั้นจัดตามลักษณะ ขนาด และการใช้งานของคอมพิวเตอร์นั้น มี 5 ประเภทคือ
1. คอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่
2. คอมพิวเตอร์ขนาดกลาง
3. คอมพิวเตอร์ขนาดเล็ก
4. คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล
5. คอมพิวเตอร์เฉพาะงาน
ลักษณะและการใช้งานคอมพิวเตอร์
คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล เป็นคอมพิวเตอร์ที่นิยมใช้ในสำนักงาน อาคาร หรือในบ้าน คอมพิวเตอร์แบบพกพาหรือโน้ตบุ๊ค เป็นคอมพิวเตอร์กระเป๋าถือสามารถนำติดตัวไปที่ต่างๆได้
คอมพิวเตอร์ขนาดย่อมหรือแล็ปท็อป เป็นคอมพิวเตอร์ที่มีขนาดเท่ากับเครื่องพิมพ์ดีดกระเป๋าหิ้ว
ปาล์มท็อปคอมพิวเตอร์ เป็นคอมพิวเตอร์ขนาดเล็ก สามารถพกพาไปไหนได้สะดวกมาก
คอมพิวเตอร์เครือข่าย คือ เครื่องคอมพิวเตอร์หลาย ๆ เครื่อง มาเชื่อมต่อด้วยกันโดยใช้สายสัญญาณ(Cable) และเซิร์ฟเวอร์ (Server)
แบบฝึกหัดบทที่ 1 ตอนที่1
1. ผู้ที่ได้รับการยกย่องว่าเป็นบิดาแห่งเครื่องคอมพิวเตอร์ คือ ชาร์ล แบบแบจ
2. คอมพิวเตอร์ หมายถึง เครื่องมือทางอิเล็กทรอนิกส์อย่างหนึ่งที่สามารถรับข้อมูล พร้อมคำสั่งในรูปแบบที่เครื่องสามารถจะเข้าใจได้ มาทำการคำนวณ เปรียบเทียบ และประมวลผล
3. เครื่องบันทึกข้อมูลที่ใช้ได้ผลในยุคแรก คือ เครื่องคอมพิวเตอร์จากหลอดสุญญากาศ
4. เครื่องคำนวณที่เก่าที่สุด คือ ลูกคิด
5. ภาษาคอมพิวเตอร์ที่ตั้งชื่อตามชื่อของนักคณิตศาสตร์ชาวฝรั่งเศส คือ ปาสคาล
6. หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์มี 3 หลัก ได้แก่ 1.การรับข้อมูล 2.การประมวลผล 3.การแสดงผล
7. เครื่องคอมพิวเตอร์แบบไฮบริด เป็นเครื่องคอมพิวเตอร์ที่รวมทั้งเครื่องคอมพิวเตอร์แบบอนาล็อกคอมพิวเตอร์และดิจิตอลคอมพิวเตอร์ไว้ด้วยกัน
8. Special Purpose Computer เป็นคอมพิวเตอร์ที่สร้างขึ้นมาเป็นพิเศษ
9. ซูเปอร์คอมพิวเตอร์ เป็น คอมพิวเตอร์ที่มีขนาดใหญ่ มีความเร็วประมาณ 100 mips หรือ 100 ล้านคำสั่งต่อวินาที
10. เครื่องคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลแบ่งประเภทตามขนาดของเครื่องได้ดังนี้ 1.คอมพิวเตอร์สำนักงานและผู้ใช้ตามบ้าน 2.คอมพิวเตอร์แบบพกพาหรือโน้ตบุ๊ค 3.คอมพิวเตอร์ขนาดย่อมหรือแล็ปท็อป 4.ปาล์มท็อปคอมพิวเตอร์
ตอนที่ 2
1. ก
2. ก
3. ก
4. ข
5. ข
6. ข
7. ก
8. ง
9. ค
10. ก

วันศุกร์ที่ 22 พฤษภาคม พ.ศ. 2552

ประคองความรัก

ยิ่งนานยิ่งรัก เกิดขึ้นได้พอๆกับ ยิ่งนานยิ่งไม่รัก
การดูแลความสัมพันธ์ เหมือนการกำทราย
กำแน่นไป ทรายก็ร่วงออกจากมือหมด
กำเบาไปทรายก็ไม่อยู่ในมืออยู่ดี

เวลาผ่านไป ใช้ชีวิตอย่างธรรมชาติให้มากขึ้น
เมื่อไหร่รู้สึกเหนื่อย ดีใจเถอะที่เหนื่อยเป็น
จะได้รู้สึกว่าควรพักซะที เหมือนคนที่ป่วยเป็น
แสดงว่าเราใช้ร่างกายมากเกินไปแล้ว ถ้าไม่ป่วยซะบ้างเลย
เราจะไม่รู้ว่าควรถนอมร่างกายได้หรือยัง

การรักคนอื่นก็คือ การรักตัวเองอีกแบบหนึ่ง
อยู่คนเดียวเรายังไม่รู้ด้วยซ้ำว่ารักตัวเองรึเปล่า
พอเริ่มรักใครซักคน
สิ่งที่ไม่เคยทำก็ทำ ไม่เคยหวานขนาดนี้ก็หวาน
ทำทุกอย่างที่จะรักษาคนที่เรารัก ให้อยู่กับเรานาน ๆ
เพราะอะไร…เพราะรักตัวเองและกลัวตัวเองเสียใจ

ความรักเป็นเรื่องของคน 2 คน มีความสุขทั้ง 2 คน
อย่าให้คนหนึ่งมีความสุข ในขณะที่อีกคนหนึ่งพยายาม
อย่าให้คนหนึ่งเสียใจ ในขณะที่อีกคนไม่รู้ตัว
อย่าให้คนหนึ่งรู้สึกดี ในขณะที่อีกคนเฉยๆ
อย่าให้คนหนึ่งอยากพูด แต่อีกคนไม่อยากฟัง
อย่าเหนื่อยใจที่จะถามกัน
อย่ากังวลกลัวเสียใจก่อนที่จะคุยกัน
เธอคือเธอ
ฉันก็เป็นฉัน
คน 2 คนที่รักกัน
ต่างคนต่างยังมีหัวใจของตัวเอง